|
|
|
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้ลงนามใน ประกาศจัดตั้งสภาตำบลเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล ประจำปี 2542 เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2542 ได้ ดำเนินการประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม 116 ตอนพิเศษ 82 ง วันที่ 15 ตุลาคม 2542 แล้ว และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 14 ธันวาคม 2542 เป็นต้นไป |
|
|
|
|
|
ภูเขา แสดงถึง วิถีชีวิตที่แน่นแฟ้นไปด้วยความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
กับทรัพยากรธรรมชาติ |
ทุ่งนาและต้นข้าว แสดงถึง ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ตำบลแม่วะหลวง ที่มีความร่มเย็นเป็นสุข อาศัยซึ่งกันและกัน มีความพึ่งพาปรองดองกัน |
ต้นไผ่ แสดงถึง สัญลักษณ์ของความสง่างาม ความก้าวหน้า ความมุ่งมั่น มั่นคงและซื่อตรง |
|
|
|
สีเหลือง เป็นสัญลักษณ์ของความเป็นปึกแผ่นมั่นคงชีวิตความเป็นอยู่เจริญรุ่งเรืองและความอุดมสมบูรณ์บริบูรณ์ |
|
สีน้ำเงิน เป็นสัญลักษณ์ของการแสดงออกถึงความจงรักภักดี ต่อ ชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์
สีเขียว เป็นสัญลักษณ์ของการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น เจริญรุ่งเรือง สดใส |
|
สีเขียว เป็นสัญลักษณ์ของการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น เจริญรุ่งเรือง สดใส |
|
สีแดง เป็นสัญลักษณ์ของความสว่างสไวในการทำงาน กระตือรือร้น สร้างสรรค์ และความสามัคคีในการทำงาน |
|
ความหมายโดยรวม หมายถึง ความอุดมสมบูรณ์ ความเข้มแข็ง ความมีปัญญา ความเจริญรุ่งเรือง ความจงรักภักดีและความสมัคคี |
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลแม่วะหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 149 หมู่ 4 ตำบลแม่วะหลวง อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตากอยู่ห่าง จากที่ว่าการอำเภอท่าสองยาง 100 กิโลเมตรตามถนนสายท่าสองยาง-แม่สะเรียง ทางหลวงหมายเลข 105 มีเนื้อที่ประมาณ 328.9 ตารางกิโลเมตร (205,562.50 ไร่) |
|
|
|
|
|
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน |
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ตำบลแม่สอง อำเภอท่าสองยาง |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน, อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ |
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ตำบลท่าสองยาง อำเภอท่าสองยาง |
|
|
|
|
อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน |
ต.วังวน อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก |
|
อำเภอสบเมย
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
และ อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ |
ตำบลท่าสองยาง อำเภอท่าสองยาง |
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 7,262 คน แยกเป็น |
|
ชาย จำนวน 3,693 คน |
คิดเป็นร้อยละ 50.85 |
|
หญิง จำนวน 3,569 คน |
คิดเป็นร้อยละ 49.15 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 2,314 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 22.08 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
1 |
บ้านซอแขระกา |
262 |
237 |
499 |
176 |
2 |
บ้านปางทอง |
479 |
484 |
963 |
298 |
3 |
บ้านแม่วะหลวง |
584 |
591 |
1,175 |
454 |
4 |
บ้านแม่อมกิ |
444 |
414 |
858 |
321 |
5 |
บ้านบอหมาก |
333 |
282 |
615 |
202 |
6 |
บ้านแม่หละยอคี |
271 |
272 |
543 |
193 |
7 |
บ้านอมกอทะ |
377 |
339 |
716 |
201 |
8 |
บ้านวะหย่าโจ |
439 |
428 |
867 |
213 |
9 |
บ้านเกร๊ะโก(เกร๊ะคี) |
504 |
522 |
1,026 |
256 |
รวม |
3,693 |
3,569 |
7,262 |
2,314 |
|
|